"ออกไปสร้างความดีให้มากมาย แล้วกลับมานั่งทำใจนิ่งสบายๆ ในอาศรม" รวบรวมธรรมะและข้อคิดดีๆ จากการฟังธรรม อ่านธรรมะ แล้วนำมาแชร์ให้พี่น้องสาธุชน
วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556
สำหรับใช้อ้างอิงพระไตรปิฎก
..............................................................
คัมภีร์พระไตรปิฎก
ชื่อย่อคัมภีร์พระไตรปิฎก.เล่ม/หน้าบาลี๑(ไทย)๒/ข้อ
...............................................................
คัมภีร์อื่นๆ
ชื่อคัมภีร์อื่น เล่ม/หน้าบาลี(แปล)
.........................................................
เช่น
ขุ.ธ. ๒๕/๓๘(๖๕)/๑๑๓ , อรรถกถาบาลี(แปล) ๑๗(๑.๒.๒)/๗๒๖(๔๙๗)
คือ พระสุตตันตปิฎก
๑-๔ วินย.ม. ๔/๑๕(๒๐)/๑๓ , สํ.ม. ๑๙/๕๑๙(๕๙๒)/๑๐๘๑ , ขุ.ป. ๓๑/๔๖๗(๔๘๒)/๕๙๘
๕ ที.ม. ๑๐/๓๒๑(๓๐๑)/๓๗๓ , ม.มู. ๑๒/๙๐(๑๐๑)/๑๐๖ , อภิ.ก. ๓๗/๑๖๒(๒๔๐)/๓๐๓
๖ ขุ.ธ. ๒๕/๖๙(๑๑๗)/๒๗๓–๒๗๖
๗ ขุ.เถร. ๒๖/๔๔๘(๕๐๐)/๙๘๐ , ขุ.อป. ๓๒/๙(๑๒)/๘๐
๘ ขุ.อุ. ๒๕/๑๖๗(๒๔๔)/๓๖ , ที.ม. ๑๐/๕๗(๕๐)/๙๐
๙ ขุ.ธ. ๒๕/๕๘(๙๘)/๒๑๓
๑๐ อรรถกถาบาลี๓(แปล)๔ ๑๗(๑.๒.๒)/๗๒๔(๔๙๕)
๑๑ ขุ.ธ. ๒๕/๗๒(๑๒๒)/๒๘๘–๒๘๙ , อรรถกถาบาลี(แปล) ๑๗(๑.๒.๒)/๗๒๕(๔๙๖)
๑๒ ขุ.ธ. ๒๕/๓๘(๖๕)/๑๑๓ , อรรถกถาบาลี(แปล) ๑๗(๑.๒.๒)/๗๒๖(๔๙๗)
๑๓ ขุ.ธ. ๒๕/๑๕(๒๓)/๑,๒
๑๔ สํ.ส. ๑๘/๒๕๕(๒๗๓)/๒๕๓ , ขุ.อิ. ๒๕/๓๐๒(๔๐๖)/๕๓
๑๕ ขุ.ม. ๒๙/๑๗๒(๑๙๒)/๕๗
๑๖ ขุ.ธ. ๒๕/๕๐(๘๘)/๑๗๖
๑๗ ขุ.ธ. ๒๕/๕๗(๙๗)/๒๐๗
๑๘ ขุ.ธ. ๒๕/๕๗(๙๖–๙๗)/๒๐๖–๒๐๗
๑๙ ขุ.ธ. ๒๕/๘๐(๑๓๕)/๓๒๘
๒๐ ขุ.ธ. ๒๕/๕๗(๙๗)/๒๐๘
๒๑ อรรถกถาบาลี(แปล) ขุ.ป. ๔๐(๗.๑)/๓๕(๖๐)/๘(อาทีน.) , วิสุทธิมรรคบาลีคอม.๕(แปล) ๖
๕๙(๓)/๒๙๘–๒๙๐(๗๕๑–๗๕๒)
๒๒ ขุ.ธ. ๒๕/๘๔(๑๔๑)/๓๔๘
๒๓ ขุ.ธ. ๒๕/๘๒(๑๓๘)/๓๓๘
๒๔ ขุ.ธ. ๒๕/๘๘–๘๙(๑๔๘–๑๔๙)/๓๖๙–๓๗๐
๒๕ สํ.ส. ๑๘/๑๖๙–๑๗๐(๑๘๔–๑๘๕)/๑๕๑
หมายเหตุ : ชื่อคัมภีร์
๑. พระไตรปิฎกบาลี ฉบับสังคายนา พ.ศ.๒๕๓๐(ทยฺยรฏฺฐสฺส สงฺคีติเตปิฏกํ ๒๕๓๐ พุทฺธวสฺเส)
๒. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๓๙
๓. อรรถกถาบาลี ฉบับสยามรัฐ มหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๓๕ (สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกฏฺกถา)
๔. พระสูตร และ อรรถกถา(แปล) มหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๒๕
๕. พระวิสุทธิมรรคบาลี (พระไตรปิฎก และ อรรถกถา ฉบับคอมพิวเตอร์ BUDSIR IV ม.มหิดล)
๖. พระวิสุทธิมรรคแปล(เล่มเดียวจบ) มหาวงศ์ ชาญบาลี โรงพิมพ์ธรรมบรรณาคาร พ.ศ.๒๕๒๗
อักษรย่อชื่อคัมภีร์
อักษรย่อบอกนามคัมภีร์ (เฉพาะที่ใช้อ้างอิงพุทธสุภาษิต)
อง. อฏฐก. องคุตตรนิกาย อฏฐกนิปาต
อง. จตุกก. " จตุกกนิปาต
อง. ฉกก. " ฉกกนิปาต
อง. ติก. " ติกนิปาต
อง. ทสก. " ทสกนิปาต
อง. ปญจก. " ปญจกนิปาต
อง. สตตก. " สตตกนิปาต
ขุ. อิติ. ขุททกนิกาย อิติวุตตก
ขุ. อุ. " อุทาน
ขุ. ขุ. " ขุททกปาฐ
ขุ. จริยา. " จริยาปิฏก
ขุ. จู. " จูลนิทเทส
ขุ. ชา. อฏฐก. " ชาตก อฏฐกนิปาต
ขุ. ชา. อสีติ. " " อสีตินิปาต
ขุ. ชา. เอก. " " เอกนิปาต
ขุ. ชา. จตตาฬีส. " " จตตาฬีสนิปาต
ขุ. ชา. จตุกก. " " จตุกกนิปาต
ขุ. ชา. ฉกก. " " ฉกกนิปาต
ขุ. ชา. ตึส. " " ตึสนิปาต
ขุ. ชา. ติก. ขุททกนิกาย ชาตก ติกนิปาต
ขุ. ชา. เตรส. " " เตรสนิปาต
ขุ. ชา. ทวาทส. " " ทวาทสนิปาต
ขุ. ชา. ทสก. " " ทสกนิปาต
ขุ. ชา. ทุก. " " ทุกนิปาต
ขุ. ชา. ทุก. ขุททกนิกาย ชาตก ทุกนิปาต
ขุ. ชา. นวก. " " นวกนิปาต
ขุ. ชา. ปกิณณก. " " ปกิณณกนิปาต
ขุ. ชา. ปญจก. " " ปญจกนิปาต
ขุ. ชา. ปญญาส. " " ปญญาสนิปาต
ขุ. ชา. มหา. " " มหานิปาต
ขุ. ชา. วีส. " " วีสตินิปาต
ขุ. ชา. สฏฐิ. " " สฏฐินิปาต
ขุ. ชา. สตตก. " " สตตกนิปาต
ขุ. ชา. สตตติ. " " สตตตินิปาต
ขุ. เถร. " เถรคาถา
ขุ. เถรี. " เถรีคาถา
ขุ. ธ. " ธมมปทคาถา
ขุ. ปฏิ. " ปฏิสมภิทามคค
ขุ. พุ. " พุทธวํส
ขุ. มหา. " มหานิทเทส
ขุ. สุ. ขุททกนิกาย สุตตนิปาต
ที. ปาฏิ. ทีฆนิกาย ปาฏิกวคค
ที. มหา. " มหาวคค
ม. อุป. มชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก
ม. ม. " มชฌิมปณณาสก
สํ. นิ. สํยตตนิกาย นิทานวคค
สํ. มหา. " มหาวารวคค
สํ. ส. " สคาถวคค
สํ. สฬ. สํยตตนิกาย สฬายตนวคค
ส. ม. สวดมนต์ฉบับหลวง ( พิมพ์ครั้งที่ ๕ )
- / - เลขหน้าขีดบอกเล่ม เลขหลังขีดบอกหน้า
ต.ย.2
1. สมมติเหตุการณ์ว่า ท่านผู้อ่านได้อ่านหนังสือพุทธธรรม ของท่านพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) หน้า ๘๑๐ พบบทความที่น่าสนใจที่กล่าวไว้ในหนังสือ และท่านต้องการค้นหาจากพระไตรปิฎกเล่มจริง
" ภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นมรรคาเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ " มาจาก ที.ม. 10/273/325
การที่ค้นหาบทความอ้างอิงต้องหา่ว่าบทความอ้างอิงมาจากไหนเช่น
พระไตรปิฎกฉบับ ? เล่มที่ ? ข้อที่ ? หน้า ?
บทความ " ภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นมรรคาเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ "
ที.ม. 10/273/325 หมายถึง เล่มที่ 10 ข้อที่ 273 หน้าที่ 325
ให้ดูที่พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ 45 เล่ม
วิธีอ่านเชิงอรรถ
ตัวอย่าง ปฐมอคติสูตร อัง. จตุก. มก. 35 / 17 / 48
1ชื่อพระสูตร
2 อักษรย่อชื่อคัมภีร์
3 พระไตรปิฏกฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย
4เล่มที่
5 ข้อที่
6 หน้าที่